วันอาทิตย์ที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2556

ตัวอย่างงานวิจัยกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ โดยใช้การละเล่นพื้นบ้านของไทย ในชั้นอนุบาลปีที่ 1 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ กฤษณา บุตรพรม
 
 
 
 
การจัดการเรียนรู้แบบ TAI เรื่องเซตระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ ศศิธร พรหมภักดี

 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยโครงงานวิชาคณิตศาสตร์เรื่อง เงินและการบันทึกรายรับรายจ่าย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ ขนิษฐา วรรณพงษ์
 
 
  
การใช้เทคนิคการควบคุมตนเอง เพื่อพัฒนาพฤติกรรมการเรียนและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 / รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ พรฉวี ดาโรจน์
 
 
 
 การประเมินผลการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2546 โรงเรียนดอนก่อโนนสวรรค์ อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย / วิทยานิพนธ์ ของ รุ่งทิวา สิงหัดชัย
 
 
 
การเปรียบเทียบการวิเคราะห์โมเดลตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาร้อยเอ็ดด้วยวิธีวิเคราะห์แบบ PAQ และแบบ PAL / วิทยานิพนธ์ ของ สุปรียา สมัครวงศ์
 
 
 
การเปรียบเทียบการสอนคณิตศาสตร์เรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนาม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนโดยการแบ่งกลุ่ม ตามสังกัดสัมฤทธิผลทางการเรียน (STAD) และกิจกรรมตามคู่มือครูของ สสวท. [electronic resource] / วิทยานิพนธ์ ของ พรชัย จันทไทย
 
 
 
การเปรียบเทียบการสอนวิชาคณิตศาสตร์เรื่องบทประยุกต์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างการสอนโดยใช้บทเรียนสำเร็จรูปกับการสอนปกติ [electronic resource] / วิทยานิพนธ์ ของ พิจิตร พรหมจารีย์
 
 
 
การเปรียบเทียบความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ การคิด วิเคราะห์ และมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ระหว่างการเรียนด้วยวิธีสอนโดยใช้ยุทธศาสตร์เมตาคอกนิชันกับการเรียนด้วยวิธีสอนแบบปกติ / วิทยานิพนธ์ ของ พรพิรุณ บุตรดา
 
 
 
การเปรียบเทียบความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้กลวิธีเมตาคอคนิชันกับการสอนตามคู่มือครู / วิทยานิพนธ์ ของ เบญจวรรณ มาตรา
 
 
 
การเปรียบเทียบความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีสไตล์การเรียน ความถนัดทางการเรียนและภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวันแตกต่างกัน / วิทยานิพนธ์ ของ ละเอียด อาจทวีกุล
 
 
 
การเปรียบเทียบความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์เรื่องเศษส่วน ทศนิยม และการคิดวิเคราะห์ระหว่างวิธีเรียนแบบร่วมมือเทคนิค STAD สอดแทรกเมตาคอกนิชั่นวิธีเรียนตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์วิธีเรียนตามคู่มือครู สสวท. ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 / วิทยานิพนธ์ ของ ภาวิณี คำชารี
 
 
 
การเปรียบเทียบความสามารถในการคิดอเนกนัยแบบความสัมพันธ์ และผลสัมฤทธิ์ทางเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 ที่มีสไตล์การเรียนแตกต่างกัน / วิทยานิพนธ์ ของ พัชนีย์ ไชยทองยศ
 
 
 
การเปรียบเทียบความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และเจตคติต่อการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง อสมการ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนด้วยวิธีการเรียนรู้แบบ LT การเรียนรู้แบบ KWL และการเรียนรู้แบบ SSCS / วิทยานิพนธ์ ของ นันทวัน คำสียา
 
 
 
 การเปรียบเทียบความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เรื่องความน่าจะเป็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการสอนโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้ตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์และการสอนตามปกติ / วิทยานิพนธ์ ของ นิตยา ฉิมวงศ์
 
 
 
การเปรียบเทียบผลการจัดกิจกรรมตามวัฏจักรการเรียนรู้ (4 MAT) กับการจัดการเรียนการสอนตามปกติต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เจตคติ และความคงทนในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 / วิทยานิพนธ์ ของ สุริยาภรณ์ ชัฏพลชัย
 
 
 
การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้กลุ่มสาระคณิตศาสตร์เรื่องการแปลงทางเรขาคณิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์กับการเรียนประกอบโปรแกรม The Geometer's Sketchpad (GSP) / วิทยานิพนธ์ ของ กรรณิกา ผาสุข
 
 
 
การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ระหว่างการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL) กับการสอนตามคู่มือของ สสวท. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่องการวัดความยาว ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ ศุภิสรา โททอง
 
 
 
การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้เรื่อง การบวก ลบ คูณ หาร จำนวนเต็ม โดยใช้วิธีการเรียนรู้แบบกลุ่ม (TAI) และวิธีการเรียนตามคู่มือของ สสวท. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ อภิเชษฐ์ วันทา
 
 
 
การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้เรื่อง สมการและการแก้สมการโดยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่ม (TAI) และวิธีการเรียนตามปกติ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ จรวยรัตน์ ขวัญรัมย์
 
 
 
การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้เรื่องการบวกและการลบจำนวนนับที่มีผลลัพธ์และตัวตั้งไม่เกิน 100 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์กับการเรียนแบบทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ / วิทยานิพนธ์ ของ แก้วใจ พุทธิวงษ์
 
 
 
การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้เรื่องความเท่ากันทุกประการกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างการเรียนด้วยบทเรียนบนเครือข่ายกับการเรียนแบบปกติ / วิทยานิพนธ์ ของ ปิยะพรรณ สกุลซ้ง
 
 
 
การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้เรื่องจำนวนเต็มกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ระหว่างการเรียนด้วยบทเรียนบนเครือข่ายกับการเรียนตามปกติ / วิทยานิพนธ์ ของ ศศิธร เทียมหงษ์
 
 
 
การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้เรื่องจำนวนนับกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์กับการเรียนที่เน้นทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ / วิทยานิพนธ์ ของ จิราภรณ์ นามมะ
 
 
 
การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้เรื่องรูปสี่เหลี่ยมและรูปวงกลมกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างการจัดกิจกรรมเพื่อสร้างความคิดรวบยอดและการจัดกิจกรรมตามปกติ / วิทยานิพนธ์ ของ ภัทรา มูลน้อย
 
 
 
การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้เรื่องเรขาคณิตสามมิติปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างการเรียนรู้แบบร่วมมือ STAD กับการสอนปกติ / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ ณัฏฐนันทน์ สีหะวงษ์
 
 
 
การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์เรื่องระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรของนักเรียนชั้นมัธยมศึดษาปีที่ 3 ที่ได้รับการสอนโดยวิธีเรียนแบบร่วมมือแบบ STAD กับการสอนแบบปกติ / วิทยานิพนธ์ ของ อุษา ยิ่งนารัมย์
 
 
 
การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์เรื่องเส้นขนาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของนักเรียนระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบทีจีที (TGT) แบบจิ๊กซอว์ (JIGSAW) และแบบ สสวท. / วิทยานิพนธ์ ของ มณีแสง เทศทิม
 
 
 
การเปรียบเทียบผลการเรียนเรื่องการบวกและการลบกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ระหว่างการสอนบนเว็บที่เน้นทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์กับการสอนปกติ / วิทยานิพนธ์ ของ จักรพัฒน์ ภูมิพันธ์
 
 
 
การเปรียบเทียบผลการเรียนและกระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์เรื่องความน่าจะเป็นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างการเรียนด้วยโปรแกรมบทเรียนกับการเรียนที่เน้นกระบวนการแก้ปัญหา / วิทยานิพนธ์ ของ เกศฎาพร สุดชา
 
 
 
การเปรียบเทียบผลการเรียนและทักษะการคิดแก้ปัญหาเรื่องการหารชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างการเรียนด้วยโปรแกรมบทเรียนตามแนวการสร้างสรรค์ความรู้กับการเรียนตามปกติ / วิทยานิพนธ์ ของ หนูพิน เทพเรียน
 
 
 
การเปรียบเทียบผลการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เรื่องเศษส่วนและทศนิยมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนโดยวิธีใช้แบบฝึกพัฒนาความรู้สึกเชิงจำนวนกับการเรียนปกติ / วิทยานิพนธ์ ของ กำไลทอง วงศ์เจริญ
 
 
 
การเปรียบเทียบผลการสอนวิชาคณิตศาสตร์เรื่องบทประยุกต์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ระหว่างการสอนด้วยวิธีสอนแบบแบ่งกลุ่ม ตามสังกัดสัมฤทธิผลทางการเรียนและการสอนแบบปกติ / วิทยานิพนธ์ ของ ชนิดา นนท์นภา
 
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ความสามารถในการให้เหตุผลและเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (PL) กับการเรียนรู้ตามคู่มือ สสวท. เรื่องบทประยุกต์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 / วิทยานิพนธ์ ของ สุกัญญา อนรรฆพันธ์
 
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความคงทนในการเรียน และความวิตกกังวลต่อการสอบของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ใช้แบบทดสอบย่อยต่างกันในวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนาม [electronic resource] / วิทยานิพนธ์ ของ พงศ์สุวรรณ ตับกลาง
 
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความคงทนในการเรียนรู้ และเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์เรื่องบทประยุกต์ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนโดยวิธีสอนแบบการเรียนรู้กับวิธีสอนของ สสวท. / ปริญญานิพนธ์ ของ สุนทร หนูอินทร์
 
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความคงทนในการเรียนและเจตคติที่มีต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 เรื่องสถิติ ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.1 ที่เรียนโดยใช้วิธีการสอนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน (STAD) กับที่เรียนจากการสอนแบบปกติ / วิทยานิพนธ์ ของ พเยา สุระเสียง
 
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถการคิดวิเคราะห์และการใช้เหตุผล ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเศษส่วนและทศนิยม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้กับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ / วิทยานิพนธ์ ของ พันทิพา บุญสรรค์
 
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถในการคิดวิเคราะห์และความรู้สึกเชิงจำนวนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง การคูณ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 4 MAT และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ / วิทยานิพนธ์ ของ นิภารัตน์ ตอสกุล
 
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวและแรงจูงใจในการเรียน ระหว่างวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือด้วยเทคนิค TAI กับวิธีการเรียนรู้แบบปกติชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ นันทนาภรณ์ ภูมิพยัคฆ์
 
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องทฤษฎีบทปีทาโกรัส ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบร่วมมือและการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบปกติ / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ อุดมรัตน์ ปุยภูงา
 
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เรื่องบทประยุกต์ และการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนรู้แบบ STAD และการเรียนรู้ตามปกติ / วิทยานิพนธ์ ของ ปรีดา พระโรจน์
 
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เรื่องลำดับและอนุกรมชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 และความพึงพอใจของนักเรียนต่อการสอนที่มีการจัดกลุ่มนักเรียนและเรียงลำดับเนื้อหาสาระต่างกัน / วิทยานิพนธ์ ของ คุณากร จำปาหอม
 
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ความสามารถในการให้เหตุผลและเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์เรื่องรูปสี่เหลี่ยมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ CIPPA กับการเรียนรู้ตามรูปแบบ สสวท / วิทยานิพนธ์ ของ เรนนิคม ศรีพันธ์ชาติ
 
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนความฉลาดทางอารมณ์และความสามารถในการให้เหตุผลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่องอัตราส่วนและร้อยละระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีพหุปัญญากับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแบบปกติ / วิทยานิพนธ์ ของ สาวิตรี น้อยโนนทอง
 
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนความพึงพอใจต่อวิธีสอนและความคงทนในการเรียนรู้คณิตศาสตร์เรื่องระบบจำนวนเต็มของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการสอนตามแนวคอนตรัคติวิสซึมกับการสอนแบบปกติ / วิทยานิพนธ์ ของ มัณฑนา แพทย์ผล
 
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนความสามารถการคิดวิเคราะห์และเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบจำนวนที่มีผลลัพธ์และตัวตั้งไม่เกิน 100 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนโดยวิธีสอนการเรียนรู้แบบร่วมมือกับการสอนตามปกติ / วิทยานิพนธ์ ของ ลัดดา สีนางกุ
 
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนความสามารถในการคิดแก้ปัญหาและความพึงพอใจในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 เรื่องสมการและการแปรผันชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 ที่เรียนแบบร่วมมือ (LT) กับที่เรียนแบบปกติ / วิทยานิพนธ์ ของ พิสมัย วีรยาพร
 
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนความสามารถในการคิดวิเคราะห์ความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนและความคงทนในการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการสอนด้วย Courseware Geometer's Sketchpad : CGS กับการสอนแบบปกติ / วิทยานิพนธ์ ของ บุณยาพร ชมภู
 
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนความสามารถในการคิดวิเคราะห์และความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL) และการจัดการเรียนรู้แบบปกติเรื่องการบวก ลบ คูณ หาร ทศนิยม / วิทยานิพนธ์ ของ เบญจมาศ เทพบุตรดี
 
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนความสามารถในการคิดวิเคราะห์และเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้โดยใช้กระบวนการกลุ่มแบบ TGT และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติเรื่องสถิติ / วิทยานิพนธ์ ของ นงลักษณ์ ศรีบัวบาน
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนความสามารถในการคิดวิเคราะห์และเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนโดยกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้และกิจกรรมการเรียนรู้ตามปกติเรื่องความน่าจะเป็น / วิทยานิพนธ์ ของ สิริกุล อินพานิช
 
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนความสามารถในการใช้เหตุผลทางคณิตศาสตร์และเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่องระบบจำนวนเต็มระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ TGT และกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 4 MAT / วิทยานิพนธ์ ของ อุเทน คำสิงห์นอก
 
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์และเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อนเป็นรายบุคคล (TAI) และการเรียนรู้ตามคู่มือครู / วิทยานิพนธ์ ของ รัชนี งอกศิริ
 
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนความสามารถในการให้เหตุผลและเจตคติต่อการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เรื่องระบบสมการเชิงเส้น / วิทยานิพนธ์ ของ อรุณี ศรีวงษ์ชัย
 
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนความสามารถในการให้เหตุผลและเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เรื่องตัวประกอบของจำนวนนับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างการจัดการเรียนรู้แบบอุปนิรนัยกับการจัดการเรียนรู้ตามคู่มือครู / วิทยานิพนธ์ ของ ธวัตชัย ปุริโส
 
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนความสามารถในการให้เหตุผลและเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์เรื่องการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ TAI และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามคู่มือครู / วิทยานิพนธ์ ของ อังคณา แก้วไชย
 
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการแปลงทางเรขาคณิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และความพึงพอใจต่อการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใข้โปรแกรมจีเอสพีเป็นสื่อกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามปกติ / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ อรัญญา แพงเพ็ง
 
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องทฤษฎีบทปีทาโกรัสการคิดวิเคราะห์และเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และความสามารถทางการเรียนต่างกัน / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ อมรเทพ วิภาวิน
 
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องบทประยุกต์กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL) กับการเรียนรู้ตามคู่มือครู / วิทยานิพนธ์ ของ รัชนีวรรณ สุขเสนา
 
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องเศษส่วนและทศนิยมและการคิดอย่างมีวิจารณญาณของชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบ TAI การเรียนรู้แบบ KWL และการเรียนรู้แบบสสวท / วิทยานิพนธ์ ของ อารยา ไม่โศก
 
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและเรื่องพหุนามความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์และเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการสอนแบบเทคนิคกลุ่มแข่งขัน (TGT) กับการสอนตามคู่มือครู / วิทยานิพนธ์ ของ ศิริพร คำภักดี
 
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เรื่อง เวกเตอร์ ระหว่างการสอนแบบร่วมมือ (STAD) การสอนแบบ 4MAT และการสอนแบบปกติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 / วิทยานิพนธ์ ของ ชัชวาลย์ รัตนสวนจิก
 
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อการเรียนคณิตศาสตร์เรื่องตัวประกอบของจำนวนนับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 4 MAT และแบบ CIPPA / วิทยานิพนธ์ ของ สุริยันต์ สายหงษ์
 
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เรื่องเศษส่วนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL) กับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามวิธีปกติ / วิทยานิพนธ์ ของ เพ็ญศรี พิลาสันต์
 
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์และเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ระหว่างการสอนโดยใช้สื่อโปรแกรม The Geometer's Sketchpad (GSP) กับวิธีสอนตามปกติ / วิทยานิพนธ์ ของ นัยนา บุญสมร
 
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ความสามารถในการคิดวิเคราะห์และความพึงพอใจต่อกิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องบทประยุกต์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยกลุ่ม TAI กับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 4MAT / วิทยานิพนธ์ ของ ปาณิตา อาจวงษ์
 
 
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ระหว่างการสอนแบบ 4MAT และการสอนแบบปกติ / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ ทิวาพร เศรษฐโสภณ
 
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เรื่องบทประยุกต์แรงจูงใจในการเรียนและความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่สอนโดยวิธีร่วมมือกันเรียนรู้กับการสอนตามคู่มือครู / วิทยานิพนธ์ ของ มณีรัตน์ สิงหเดช
 
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เรื่องพาราโบลาเจตคติต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างการจัดกิจกรรมโดยใช้โปรแกรม The Geometer's Sketchpad เป็นสื่อกับการจัดกิจกรรมตามปกติ / วิทยานิพนธ์ ของ เรณุวัฒน์ พงษ์อุทธา
 
 
 
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรสัมพันธภาพระหว่างบุคคลและการคิดวิเคราะห์ระหว่างนักเรียนที่เรียนแบบร่วมมือกับนักเรียนที่เรียนตามคู่มือครูชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 / วิทยานิพนธ์ ของ นิพล อินนอก
 
 
 
การพัฒนากระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์โดยใช้แบบฝึกทักษะกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เรื่องเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ อภิรักษ์ จงวงศ์
 
 
 
การพัฒนาการจัดการกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องฟังก์ชันตรีโกณมิติและการประยุกต์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 / วิทยานิพนธ์ ของ ชิษณุชา พระสว่าง
 
 
 
การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนรายวิชาคณิตศาสตร์ธุรกิจ = Development of teaching and learning management in business mathematics course / วิชญา รัตนเมธาวี, จารุฉัตร บุษบา, นิภาพร โพธิ์ชัย
 
 
 
การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่องเศษส่วนและทศนิยม โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือของนักเรียนโรงเรียน โรงเรียนโนนไทยคุรุอุปถัมภ์ อำเภอโนนไทย จังหวัดนครราชสีมา / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ สุกัญญา ไกรมาก
 
 
 
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระคณิตสาสตร์ เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ โรงเรียนบ้านหนองตะแบก อำเภอครบุรี จังหวัดนครราชสีมา [electronic resource] / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ สุภัตรา ผ่านสันเทียะ
 
 
 
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ด้วยแบบฝึกทักษะ การคิดคำนวณเรื่อง ทฤษฏีของปีทาโกรัส ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนพิมายวิทยา อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ นันท์นลิน แหล่งสนาม
 
 
 
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ด้วยแบบฝึกทักษะการ คิดคำนวณ เรื่อง จำนวนเต็ม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ของนักเรียนโรงเรียนเมืองคง อำเภอคง จังหวัดนครราชสีมา / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ ทิพปภา ศิริธีรพันธ์
 
 
 
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ด้วยแบบฝึกทักษะการคิดคำนวณ เรื่องพหุนามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนนิคมพิมายศึกษา อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ นวลอนงค์ แช่มพุทรา
 
 
 
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ด้วยแบบฝึกทักษะเรื่องสมการ และอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนรวมมิตรวิทยา อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ ละออง เลี้ยงจอหอ
 
 
 
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์เรื่องการหาอนุพันธ์ของ ฟังก์ชั่นตามแนวคิดผู้เรียนสร้างความรู้เอง (Constructivism) สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงของสถาบันเทคโน โลยีราชมงคล วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นครราชสีมา / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ สมบูรณ์ สุคันธรส
 
 
 
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์เรื่องเศษส่วนและ ทศนิยมชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ด้วยการเรียนรู้แบบร่วมมือ ของนักเรียนโรงเรียน สุรนารีวิทยา อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ เพ็ญประภา ชาตยานนท์
 
 
 
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ โดยใช้บทเรียนสำเร็จรูปประกอบการจัดกิจกรรมแบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ สุจิต ภิญโญศักดิ์
 
 
 
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระคณิตศาสตร์เรื่องความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ใช้การสรุปด้วยแผนผังความคิด (Mind Mapping) ประกอบด้วยวิธีสอนของ สสวท. / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ ทิพาพร สีบุดดี
 
 
 
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบปฏิบัติการ เรื่องรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 / วิทยานิพนธ์ ของ ประสิทธิ์ เศษวงศ์
 
 
 
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์เรื่องทศนิยมชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 / วิทยานิพนธ์ ของ สุเทพ แปลงทับ
 
 
 
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลอง วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เรื่องการบวกและการลบจำนวนที่มีผลลัพธ์และตัวตั้งไม่เกิน 20 / วิทยานิพนธ์ ของ เรณู สายเชื้อ
 
 
 
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ (4MAT) เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ จรัสศรี ทองมี
 
 
 
การพัฒนาการเรียนการสอนรายวิชาคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน = Development of teaching and learning management in mathematics in dalily life course / อรุณ แก้วมั่น, นงนุช แสงสุระ, ไพทูรย์ มุลิวัลย์
 
 
 
 การพัฒนาการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์เรื่องเลขยกกำลังที่มี เลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ด้วยการเรียนรู้แบบร่วมมือของนักเรียนโรงเรียนสุรนารีวิทยา อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา [electronic resource] / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ พิศมัย สุคันธรส
 
 
 
การพัฒนาการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์เรื่องสมบัติของเลขยกกำลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ด้วยการเรียนรู้แบบร่วมมือ / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ รัชนีกร กาประโคน
 
 
 
การพัฒนาการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์เรื่องอัตราส่วนและร้อยละ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยการเรียนรู้แบบร่วมมือกันของนักเรียน โรงเรียนโพนแพงพิทยาคม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม / วิทยานิพนธ์ ของ จันทิพา สุริยนต์
 
 
 
การพัฒนาการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องรูปสามเหลี่ยม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยวิธีแผนผังความคิด / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ ชูศักดิ์ แสงไชยราช
 
 
 
การพัฒนาการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์เรื่อง เซตตามแนวทฤษฏีคอนสตรัคติวิสต์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 / วิทยานิพนธ์ ของ ศิริ แคนสา
 
 
 
การพัฒนาการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์เรื่องการหารทศนิยมชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้เทคนิคกลุ่มร่วมมือกันเรียนรู้ / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ สุรางค์ พรหมสูงวงษ์
 
 
 
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เรื่องการแปรผัน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค LT / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ วัลภา เฮียงราช
 
 
 
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระคณิตศาสตร์เรื่องการหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยมโดยการจัดการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ ชาญณรงค์ วิเศษสัตย์
 
 
 
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่องอัตราส่วนและร้อยละโดยใช้โมเดลซิปปา โรงเรียนบ้านเมืองไพร (เมืองไพรวิทยาคาร) อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ สุดแสวง สีกาศรี
 
 
 
 การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบ 4 MAT เรื่องความน่าจะเป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ นฐพร วิชัยเลิศ
 
 
 
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ เทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่องตัวประกอบของจำนวนนับ / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ อนันท์ บุตรศรีเมือง
 
 
 
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือโดยใช้เทคนิค TGT เรื่องเวลากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ นิตยา กัลยาณี
 
 
 
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD เรื่องรูปสี่เหลี่ยม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ จริยา ทิมพิทักษ์
 
 
 
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค TAI กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่องการบวก การลบ การคูณทศนิยม / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ ประยูร กรุงรัมย์
 
 
 
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ เสาวนีย์ อุตรวิเชียร
 
 
 
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิคการเรียนรู้ร่วมกัน (LT) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่องอัตราส่วนและร้อยละ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ สุธามาศ ฤทธิ์ไธสง
 
 
 
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง เซต กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยการเรียนแบบแบ่งกลุ่มตามสังกัดสัมฤทธิผลทางการเรียน (STAD) / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ กรรณิการ์ เรืองเกษม
 
 
 
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์เรื่องการคูณและการหาร จำนวนที่ตัวตั้งมีสองหลัก ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้วิธีการเรียนรู้ อำเภอเสลภูมิ แบบแบ่งกลุ่มตามสังกัดสัมฤทธิผล โรงเรียนวังหลวง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ บุญส่ง โก้ชัยภูมิ
 
 
 
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์เรื่องจำนวนเชิงซ้อนลำดับและอนุกรมชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์และการเรียนรู้แบบร่วมมือ / วิทยานิพนธ์ ของ ปราโมทย์ โพธิไสย
 
 
 
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์เรื่องสมการและอสมการ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้วิธีการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่ม ตามสังกัดสัมฤทธิผลทางการเรียน / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ ไกรศรี พลเยี่ยม
 
 
 
การพัฒนาครูเกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ วิชาคณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านเชียงวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี เขต 3 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ สุรศักดิ์ หล้าษา
 
 
 
การพัฒนาครูเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ใน โรงเรียนท่าศาลาราษฎร์วิทยา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษา อำเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนคร / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ สิบเอกเกษมศักดิ์ ทองสุ
 
 
 
การพัฒนาครูคณิตศาสตร์เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานโรงเรียนหนองบัวพิทยาการ อำเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลำภู / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ ปิยะพร สิงสาธร
 
 

ไม่มีความคิดเห็น: